หน้าเว็บ

วันพุธที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2557

รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง



การผลิตสื่อการสอน



ตัวอย่างโครงงาน
เรื่อง ASEAN WORLD

บทที่ 1
บทนำ


ที่มาและความสำคัญของโครงงาน



           
ประเทศไทยอยู่ในทวีปเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ซึ่งมีประเทศทั้งหมด 11 ประเทศ แต่ละประเทศมีวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง ที่แตกต่างกัน ในปัจจุบนัแต่ละประเทศได้ให้ความสนใจและความร่วมมือในระหว่างประเทศเกิดขึ้น
   ประชาคมอาเซียน คือ องคก์รระหว่างประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งขึ้น เพื่อใหประเทศสมาชิกอยู่รวมกนัอย่างสันติสุข แกไขปัญหาภายในภูมิภาคโดยสันติวิธีและยึดมั่น ในหลักความมั่นคงรอบด้าน สร้างความมั่นคง และมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ มีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีได้รับการพัฒนาในทุกด้านและมีความมั่นคงทางสังคมแบบเอื้ออาทร

 ประเทศไทยเป็นประเทศสมาชิกประเทศหนึ่งในประชาคมอาเซียน ดังนั้น จึงส่งผลกระทบกับประเทศไทยโดยตรงทั้งในด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง วัฒนธรรมและความมั่นคง ซ่ึงถือว่ามีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศเปิดประเทศสู่การเป็นประชาคมอาเซียน
 เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมและเป็นแนวทางในการปรับตวัรับมือกับการเปิดประเทศสู่การเป็นประชาคมอาเซียน คณะผู้จัดทำเล็งเห็นความสำคัญจึงสร้างโครงงาน ASEAN  WORLD ข้ึนมาโดยการสร้างเว็บไซต์กี่ยวกับ ประชาคมอาเซียนเพื่อเผยแพร่ความรู้ให้เยาวชนและบุคคลทั่วไปได้เข้าใจและเห็นความสำคัญของประชาคมอาเซียน
 วัตถุประสงค์ 
เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
ขอบเขตของโครงงาน
สร้างเว็บไซต์เผยแพร่เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดยใช้โปรแกรม Adobe -Dreamweaver Cs3 ในการสร้างเว็บไซต์และใช้ โปรแกรม Adobe Dreamweaver CS3 , Adobe Flash CS3 , Adobe Photoshop CS3 ในการตกแต่งเว็บซ์ให้สวยงาม



บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ในการจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เว็บไซต์ ASEAN WROLD ให้
ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน คณะผู้จัดทำได้ศึกษาข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
            2.1 ประชาคมอาเซียน
2.2 เว็บไซต์ ( Website )
2.3 โปรแกรม Adobe Dreamweaver
2.1 ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(Association of South
East Asian Nations : ASEAN) เป็นองคก์รระหว่างประเทศระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซียและฟิลิปปินส์ ได้ร่วมการจัดตั้งสมาคมอาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดำเนินการไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลงเนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่างประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟิ้นฟูสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสอง จึงได้แสวงหาหนทางร่วมมือกันอีกครั้ง
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อตั้งเมื่อวันก่อตั้งขึ้นเมื่อวัน ที่ 8 ส.ค.2510 หลังจากการลงนามในปฎิญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(Declaration of ASEAN Concord) หรือเป็นที่รู้จักกัน ในอีกชื่อหนี่งว่า ปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) โดยสมาชิกผู้ก่อตั้งมี   5 ประเทศ   ได้แก่  อินโดนิเซีย  
ฟิลิปปินส์   สิงคโปร์ และไทย ซึ่งผู้แทนทั้ง 5 ประเทศที่ร่วมลงนามใน ปฏิญญา ประเทศไทยหลังจากจัดตั้งประชาคมอาเซียนเมื่อ 8 ส.ค.2510 แล้ว อาเซียนได้เปิดรับสมาชิกใหม่จากประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพิ่มเติมเป็นระยะตามลำดับ ได้แก่
-บรูไนดารุสซาลาม เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 8 มกราคม 2527
-สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 28 กรกฏาคม 2538
-สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม 2540
-สหภาพพม่า เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 23 กรกฏาคม 2540
-ราชอาณาจักรกัมพูชาส เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ 30 เมษายน 2542
วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนามาซึ่งเสถียรภาพทางการเมืองและความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อการค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้ารุนแรงขึ้น ทำให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น วัตถุประสงค์หลักที่กำหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดังนี้
1. ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรม
2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
3. ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการบริหาร
4. ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย
5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวิต
6. ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
7. ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ
2.2 เว็บไซต์ ( Website )
เว็บไซต์ (อังกฤษ: Website, Web site หรือ Site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ใเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่าโฮมเพจ  เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จาเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูลในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทำเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สาหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของเว็บเบราว์เซอร์
หลักในการออกแบบเว็บไซต์
ขั้นตอนที่ 1 กาหนดโครงสร้างของเว็บไซต์
การสร้างเว็บไซต์นั้นควรเริ่มจากการสร้างแผนผังของเว็บไซต์ก่อนหรือที่เรียกว่า Site Map
ขั้นตอนที่ 2 กาหนดการเชื่อมโยงระหว่างเว็บเพจ
กาหนดการเชื่อมโยงให้เว็บเพจแต่ละหน้าเชื่อมโยงถึงกันเพื่อให้กลับไปกลับมาระหว่างหน้าต่างๆได้โดยแสดงชื่อไฟล์ HTML แต่ละไฟล์ที่มีการเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน
 ขั้นตอนที่ 3 การออกแบบเว็บเพจแต่ละหน้า
สามารถออกแบบหน้าเว็บเพจแต่ละหน้าให้สวยงาม โดยเฉพาะในเว็บเพจหน้าแรก ซึ่งเรียกว่าโฮมเพจนักเรียนควรออกแบบให้สวยงามเพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เข้าชมในขั้นตอนการออกแบบนี้ บางทีอาจเรียกว่าการออกแบบเลย์เอาท์ (Lay Out) สามารถทาได้โดยการเขียนลงในกระดาษหรือใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบก็ได้
ขั้นตอนที่ 4 การสร้างเว็บเพจแต่ละหน้า
นาเว็บเพจที่ออกแบบไว้มาสร้างโดยใช้ภาษาhtml หรืออาจใช้โปรแกรมสาเร็จรูป เช่น FrontPage, Macromedia Dreamweaverหรือโปรแกรมสาเร็จรูปอื่น ๆ ตามความถนัด
ขั้นตอนที่ 5 การลงทะเบียนขอพื้นที่เว็บไซต์
การเผยแพร่เว็บไซต์ที่สร้างเสร็จแล้ว เข้าสู่ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อให้บุคคลอื่นๆ
สามารถเข้าชมเว็บไซต์ของเราได้ วิธีการ คือ นาเว็บไซต์ที่เราสร้างขึ้นไปไว้บนพื้นที่ที่ให้บริการ (Web Hosting) ซึ่งมีพื้นที่ ที่ให้บริการฟรี และแบบที่ต้องเสียค่าบริการ
ขั้นตอนที่ 6 การอัพโหลดเว็บไซต์
หลังจากสร้างเว็บไซต์และลงทะเบียนขอพื้นที่สาหรับฝากเว็บไซต์แล้ว ให้ใช้โปรแกรมสาหรับอัปโหลด (Upload) เช่นโปรแกรม CuteFTP เพื่อให้คนทั่วโลกสามารถเข้าชมเว็บไซต์ของเรา ผ่านทางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
หลักในการสร้างเว็บเพจ
1. การวางแผน
กำหนดเนื้อหา ก่อนลงทาเว็บเราจะต้องรู้ว่าเราจะทาเว็บเกี่ยวกับอะไร เนื้อหาเป็นอย่างไร กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มใด ทั้งนี้เพื่อที่เราจะได้นาเนื้อหา เหล่านั้นมาใส่ในเว็บเพื่อแสดงให้รู้ว่าเนื้อหาโดยรวมเกี่ยวกับอะไร เช่น เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ก็ต้องมีข้อมูลของคอมพิวเตอร์แต่ละชนิด ลักษณะ ราคาแต่ละรุ่นและสถานที่ขาย เป็นต้น ออกแบบมุมมองในหน้าเว็บ (LayOut) คือการจัดวางองค์ประกอบในเว็บเพจว่าส่วนใดควรจะมีอะไร อาจทาโดยการร่างใส่กระดาษเปล่า ๆ ไว้ก่อนหรือใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบก็ได้ การใช้ตารางช่วยในการจัดองค์ประกอบในหน้าเว็บนั้นจะทาให้เว็บเพจมีความเป็นระเบียบยิ่งขึ้น และสะดวกต่อการแก้ไข ปรับปรุง
2. การเตรียมการ
เช่น การเตรียมการด้านข้อมูลทั้งที่เป็นเนื้อหา ภาพ เสียง หรือสิ่งจาเป็นต่างๆ ที่นักเรียนคิดว่าต้องการจะนาเสนอในการทำเว็บเพจนั้น เมื่อเรารู้แล้วว่าเราจะทำเว็บเกี่ยวกับอะไร การรวบรวมข้อมูลก็มีส่วนสาคัญอย่างยิ่ง เช่น ถ้าจะทำเว็บ เกี่ยวกับ โรงเรียน ก็ต้องไปหาคติพจน์ประจาโรงเรียน สีประจาโรงเรียน บุคลากรในโรงเรียน ประวัติโรงเรียน ฯลฯ มารวบรวมไว้ แล้วหลังจากนั้นก็เอาข้อมูลนั้นมาจัดรูปแบบในเว็บต่อไป การหาเครื่องมือในการจัดทำนั้น ก็เป็นเรื่องสาคัญเครื่องมือในที่นี้ หมายถึง
โปรแกรมการทางานต่าง ๆ เช่นโปรแกรมจัดการรูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ โปรแกรมในการจัดทาเว็บเพจ จะใช้โปรแกรมสาเร็จรูปหรือจะใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ในการสร้างต้องเตรียมการให้พร้อม
3. การจัดทา
เมื่อวางแผนและเตรียมการเรียบร้อยแล้ว ก็ถึงเวลาจัดทา อาจจะทาคนเดียว หรือทาเป็นกลุ่ม โดยใช้เครื่องมือที่เตรียมไว้ ซึ่งจะอธิบายถึง วิธีการจัดทาหรือวิธีการสร้างเว็บเพจในลาดับต่อไป
4. การทดสอบและการแก้ไข
การสร้างเว็บเพจทุกครั้งควรจะมีการทดสอบก่อนเผยแพร่ทุกครั้งเพื่อหาข้อบกพร่องแล้วนามาแก้ไขการทาเว็บนั้นเมื่อทาเสร็จและอัปโหลดไปไว้ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์แล้ว ให้ทดลองแนะนาเพื่อนที่สนิทชิดเชื้อและใช้อินเทอร์เน็ตอยู่ ลองเปิดดูและให้บอกข้อผิดพลาดมา เช่น การเชื่อมโยงต่าง ๆ , รูปภาพ และตัวอักษร ว่าถูกต้องช้าไป หรือเปล่า หากทดสอบจากเครื่องของตนเองแล้ว ข้อผิดพลาดต่างๆ มักจะไม่ค่อยปรากฏให้เห็นเนื่องจากว่าข้อมูลต่าง ๆ จะอยู่ในเครื่องของตนเองและการเชื่อมโยงต่างๆ เช่นกัน โปรแกรมจะทาการค้นหาในเครื่องจนพบ ทาให้เราไม่เห็นข้อผิดพลาด หลังจากทดสอบแล้วให้ดาเนินการแก้ไขข้อผิดพลาด
5. การนาเว็บเพจต่าง ๆ มารวบรวมเป็นเว็บไซต์
เมื่อสร้างเว็บเพจเสร็จ จัดรวบรวม และเรียบเรียงหน้าเว็บเพจแต่ละหน้า ทาการทดสอบ แก้ไขปรับปรุงเสร็จแล้ว ก็สามารถเผยแพร่เว็บเพจทั้งหมดออกสู่สาธารณชนในรูปแบบของเว็บไซต์ได้
2.3 โปรแกรม Adobe Dreamweaver
รู้จักกับ Dreamweaver
Dreamweaver ถือได้ว่าเปนเครื่องมือสาหรับสร้างเวบเพจ และ ดูแลเวบไซต์ที่มีประสิทธิภาพสูง เป็นที่นิยมใช้ของ Web Master อยางกว้างขวาง ซึ่งเป็นโปรแกรมสาหรับเขียนภาษา HTML โดยเฉพาะ พร้อมทั้งสามารถแทรก Java Scripts และ ลูกเล่นต่างๆได้มากมาย โดยที่ผู้ใช้ไม่ จาเป็นต้ องรู้ หลัก ภาษา HTML มากนัก ซึ่งช่วยประหยัดเวลา และ ทางานได้สะดวกยิ่งขึ้น

ประวัติความเป็นมาของโปรแกรม Dreamweaver
อะโดบี ดรีมวีฟเวอร์ (Adobe Dreamweaver) หรือชื่อเดิมคือ แมโครมีเดีย ดรีมวีฟเวอร์ (Macromedia Dreamweaver) เป็นโปรแกรมแก้ไข HTML พัฒนาโดยบริษัทแมโครมีเดีย (ปัจจุบันควบกิจการรวมกับบริษัท อะโดบีซิสเต็มส์) สาหรับการออกแบบเว็บไซต์ในรูปแบบ WYSIWYG กับการควบคุมของส่วนแก้ไขรหัส HTML ในการพัฒนาโปรแกรมที่มีการรวมทั้งสองแบบเข้าด้วยกันแบบนี้ ทาให้ ดรีมวีฟเวอร์เป็นโปรแกรมที่แตกต่างจากโปรแกรมอื่นๆ ในประเภทเดียวกัน ในช่วงปลายปีทศวรรษ 2533 จนถึงปีพ.. 2544 ดรีมวีฟเวอร์มีสัดส่วนตลาดโปรแกรมแก้ไข HTML อยู่มากกว่า 70% ดรีมวีฟเวอร์มีทั้งในระบบปฏิบัติการแมคอินทอช และไมโครซอฟท์วินโดวส์ ดรีมวีฟเวอร์ยังสามารถ
ทำงานบนระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ ผ่านโปรแกรมจาลองอย่าง WINEได้ รุ่นล่าสุดคือ ดรีมวีฟเวอร์ CS5
การทำงานกับภาษาต่างๆ
ดรีมวีฟเวอร์ สามารถทางานกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนเว็บไซต์แบบไดนามิค ซึ่งมีการใช้ HTML เป็นตัวแสดงผลของเอกสาร เช่น ASP, ASP.NET, PHP, JSP และ ColdFusion รวมถึงการจัดการฐานข้อมูลต่างๆ อีกด้วย และในเวอร์ชันล่าสุด (เวอร์ชัน CS4) ยังสามารถทางานร่วมกับ XML และ CSS ได้อย่างง่ายดาย
ความสามารถของ Dreamweaver
ในการเขียนเว็บเพจ จะมีลักษณะคล้ายกับการพิมพ์งานในโปรแกรม Text Editor ทั่วไป คือว่ามันจะเรียงชิดซ้ายบนตลอดเวลา ไม่สามารถย้าย หรือ นาไปวางตาแหน่งที่ต้องการได้ทันที่เหมือนโปรแกรมกราฟิก เพราะฉะนั้นหากเราต้องการจัดวางรูปแบบตามที่เราต้องการ ก็ใช้ตาราง Table เข้ามาช่วยจัดตาแหน่ง ซึ่งเมื่อมีการจัดวางรูปแบบที่ซับซ้อนมากขึ้น การเขียนภาษา HTML ก็ซับซ้อนยิ่งขึ้นเช่นกัน โปรแกรม Dreamweaver อาจจะไม่สามารถเขียนเว็บได้ตามที่เราต้องการทั้งหมด วิธีการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุดคือ ควรจะเรียนรู้หลักการของภาษา HTML ไปด้วย ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่จาเป็นมากสาหรับผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพ Webmaster แบบจริงจัง อาจจะไม่ต้องถึงกับท่องจา Tag ต่าง ๆ ได้ทั้งหมด แต่ขอให้รู้ เข้าใจหลักการก็พอแล้ว เพราะหลาย ๆ ครั้งที่เราจะเขียนเว็บใน Dreamweaver แล้วกลับได้ผลผิดเพี้ยนไป ไม่ตรงตามที่ต้องการ ก็ต้องมาแก้ไข Code HTML เอง และความสามารถของ Dreamweaver สรุปได้ดังนี้
1. สนับสนุนการทางานแบบ WYSIWYG (What You See Is What You Get) หมายความว่า เว็บที่เราเขียนหน้าจอ Dreamweaver ก็จะแสดงแบบเดียวกับเว็บเพจจริงๆ ช่วยให้เราเขียนเว็บเพจง่ายขึ้น ไม่ต้องเขียน Code HTML เอง
2. มีเครื่องมือในการช่วยสร้างเว็บเพจที่มีความยืดหยุ่นสูง
3. สนับสนุนภาษาสคริปต์ต่างๆ ทั้งฝั่ง Client และ Server เช่น Java, ASP, PHP, CGI, VBScript
4. มีเครื่องมือในการ Upload หน้าเว็บเพจไปที่เครื่อง Server เพื่อทาการเผยแพร่งานที่เราสร้างในอินเทอร์เน็ต โดยการส่งผ่าน FTP หรือ โดยการใช้โปรแกรม FTP ภายนอกช่วย เช่น WS FTP
5. รองรับมัลติมีเดีย เช่น การใส่เสียง, การแทรกไฟล์วิดีโอ, การใช้งานร่วมกับโปรแกรม Flash , Fireworks


บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ
             
               การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ ASEAN WROLD คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธีดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้
3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ
1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 
2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานในการสร้างเว็บไซต์และการตกแต่ง เว็บไซต์ให้น่าสนใจ
3. ศึกษาโปรแกรมในการสร้างเว็บไซต์
4. จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 
5. ออกแบบเว็บไซต์ 
6. จัดทาโครงงานสร้างเว็บไซต์ ASEAN WORLD 
7. เผยแพร่ผลงานผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 
8. ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน
3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ศึกษา เรื่อง ความสาคัญของประชาคมอาเซียน 
2. ศึกษา เรื่อง การออกแบบเว็บไซต์ 
3. ศึกษา เรื่อง การทางานของตัวโปรแกรมต่างๆ ได้แก่ 
            3.1 Adobe Dreamweaver CS3 
            3.2 Adobe Flash CS3 
            3.3 Adobe Photoshop CS3
3.3 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ซอฟต์แวร์
-Adobe Dreamweaver CS3 
-Adobe Flash CS3
-Adobe Photoshop CS3


บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
            

              การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา สร้างเว็บไซต์ ASEAN WORLD เนื้อหาเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ซึ่งมีผลการดาเนินงานโครงงาน ดังนี้
4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงานสร้างเว็บไซต์ ASEAN WORLD เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมที่ประเทศไทยจะก้าวสู่ใน พ.. 2558 นี้ คณะผู้จัดทาได้ดาเนินตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ไดวางแผนไว้ และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านทางเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ เป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และรวดเร็วในการรับข้อมูล
4.2 ตัวอย่างผลงาน
ภาพที่ 1 ภาพผลงานเว็บไซต์ ASEAN WORLD








บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินงาน / ข้อเสนอแนะ
              การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ ASEAN WROLD สามารถสรุปผลการดาเนินงานโครงงานและข้อเสนอแนะ ดังนี้
5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน
5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ซอฟต์แวร์
-Adobe Dreamweaver CS3
 -Adobe Flash CS3
- Adobe Photoshop CS3
5.2 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน
การดาเนินโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ คือ เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เว็บไซต์ ASEAN WORLD เป็นเว็บไซต์ที่จัดทาขึ้นเพื่อ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนนาเสนอผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทาให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วได้รับความรู้ ความเข้าใจ เล็งเห็นความสาคัญประชาคมอาเซียนที่จะเข้ามามีบทบาทในประเทศไทย เว็บไซต์ ASEAN WORLD จึงเป็นเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ และเป็นการนาเทคโนโลยีและซอฟต์แวร์มาพัฒนาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและเกิดประโยชน์
5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายครบเนื้อหาในมุมลึกกว่านี้
2. ควรมีการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น